Custom Search

วันเสาร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม ERP

Erp ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning ถ้าแปลตรงตัวคือ การวางแผนทรัพยากร
ทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การบริหารเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสุงสุด
ของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศ ที่องค์กรสามารถนำแนวคิดและวิธีการ
บริหารของ ERPมาทำให้เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร กล่าวคือ ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศ
ในองค์กรที่สามารถบูรณาการ (Integrate) รวมงานลัก (Core Bussiness Process) ต่าง ๆ
ในบริษัททั้งหมด ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้าง การผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคลเข้าด้วยกันเป็น
ระบบที่สัมพันธ์กันและสามารถเชื่อมโยง ณ เวลานั้นทันที (Real Time)

บทบาทของ ERP คืออะไร
สภาพธุรกิจที่มีขนาดใหญ่และมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เป็นผลทำให้เกิดการเชื่อมโยงของกิจกรรม
สร้างมูลค่าให้กับลูกค้า ของแผนกต่างๆที่เกี่ยวข้อง ยาวและซับซ้อนขึ้น และเมื่อความเชื่อมโยงของกิจกรรม
ต่างๆขยายใหญ่และซับซ้อนขึ้น ถ้าไม่มีระบบข้อมูลในการจัดการที่ดี โอกาสที่จะเกิดปัญหาในการ
รับรู้สภาพการเชื่อมโยงของกิจกรรมย่อมทำได้ยาก และผลที่ตามมาคือ ข้อมูลมากแต่ไม่รู้ว่าข้อมูลอันไหน
ที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจที่จะลงทุนและบริหารทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพได้ ดังนั้น ERP ก็คือ
เครื่องมือที่นำมาใช้ในการบริหารธุรกิจเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ในเชิงบริหารที่เกิดขึ้นดังกล่าวอีกทั้งจะช่วยให้
้สามารถวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากรขององค์กรโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังรูปต่อไปนี้

ประโยชน์ในการนำ ERP มาใช้
- เกิดการปฏิรูปการทำงาน
- การเพิ่มประสิทธิภาพและความเหมาะสมให้กับกระบวนการทางธุรกิจ
- การทำให้การบริหารงานได้รวดเร็ว ไวต่อเหตุการณ์
- การลดลงของค่าใช้จ่ายโดยรวมขององค์กร

- เกิดการปฏิรูปการบริหารธุรกิจ
- ความสามารถในการรับรู้สภาพการณ์โดยรวมของการบริหารได้แบบเรียลไทม์
- ความสามารถในการปรับเปลี่ยนเพื่อให้องค์กรโดยรวมมีประสิทธิภาพสูงสุด
- ความสามารถในการตัดสินใจได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์

- เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์กร
- การเป็นตัวเองและความกระตือรือร้นของพนักงาน
- การใช้ความสามารถของพนักงานให้เกิดผลสำเร็จ
- การใช้ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในการบริหารองค์กรให้เกิดผลสำเร็จ


ที่มา : www.td-star.com

CMMS ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการซ่อมบำรุง

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการซ่อมบำรุง

บริษัทฯ ได้นำระบบสารสนเทศสำหรับคอมพิวเตอร์ในการควบคุมกำหนดการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน Computerized Maintenance Management System (CMMS) มาใช้กับอุปกรณ์ทุกชนิดควบคู่กันเพื่อให้มั่นใจได้ว่าอุปกรณ์ทุกชนิดสำหรับระบบผลิตและส่งจ่ายน้ำประปาภายในโรงผลิตน้ำประปาบางเลนและสถานีจ่ายน้ำทุกแห่งรวมถึงอุปกรณ์วาล์วทุกชนิดที่ถูกติดตั้งไว้สำหรับท่อประทานจ่ายน้ำ (Bulk Trunk Main, BTM) จากโรงผลิตน้ำประปาบางเลนไปยังสถานีจ่ายน้ำพุทธมณฑลและสถานีจ่ายน้ำมหาชัยและระบบท่อจ่ายน้ำสาขา (Local Distribution Network, LDN) ซึ่งส่งน้ำไปยังเครือข่ายระบบท่อส่งน้ำของการประปาส่วนภูมิภาคสู่ผู้ใช้น้ำนั้นจะได้รับการตรวจสอบหรือปรับปรุงเพื่อการซ่อมบำรุงในเชิงป้องกันได้อย่างตรงเวลา ประกอบด้วยส่วนควบคุมหลักคือ ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการซ่อมบำรุง Computerized Maintenance Management System (CMMS) เพื่อให้การซ่อมบำรุงเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน บริษัทฯ ได้นำระบบระบบควบคุมคอมพิวเตอร์มาใช้สำหรับการซ่อมบำรุง, เบิกจ่ายอะไหล่, การสำรองอะไหล่ที่ต้องใช้ในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์นี้หรือ Computerized Maintenance Management System (CMMS) ซึ่งถูกนำมาใช้สำหรับระบบผลิตและส่งจ่ายน้ำประปานี้ได้เลือกใช้ซอฟแวร์ของ MAXIMO

MAXIMO เป็นโปรแกรมการจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถรองรับการซ่อมบำรุงด้วยอุปกรณ์อะไหล่จำนวนมากๆ พร้อมทำการเชื่อมต่อกับระบบการออกใบสั่งซื้อและข้อมูลการสำรองอะไหล่ได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นโปรแกรมที่ได้ถูกเลือกนำมาใช้สำหรับระบบซ่อมบำรุงของบริษัทฯ ซึ่งจะต้องมีการเชื่อมต่อและแจ้งเตือนสถานะข้อมูลของอะไหล่จำนวนมากและยังมีการเชื่อมต่อกับระบบการจัดซื้ออะไหล่เพื่อสำรอง ซึ่งทำให้สามารถทราบถึงสถานะของอะไหล่ การเบิกจ่ายและอะไหล่ที่อยู่ระหว่างการสั่งซื้อ นอกจากจะทำให้เครื่องจักรได้รับการบำรุงรักษาได้อย่างตรงเวลาและสม่ำเสมอแล้วประสิทธิภาพของการจัดการด้วยระบบคอมพิวเตอร์คือ ฐานข้อมูลประวัติการซ่อมแซมที่สามารถจะถูกนำออกมาเรียกดูได้ตลอดเวลาเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลและประสิทธิภาพการซ่อมบำรุงของเครื่องจักรแต่ละชนิดรวมถึงการปรับปรุงระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

RESOURCE: http://www.thaitap.com/th/06_technology/02_article.php?TechnologyProgressID=3

MAXIMO Implementation Services
Implementing MAXIMO, whether it is MAXIMO 4x, MAXIMO 5x, or MAXIMO 6x, involves much more than installing software, loading a database, and taking a few classes. As an advanced EAM system, MAXIMO is integrated into your business and configured to match your maintenance management requirements. Often times, MAXIMO shares data and works closely with other enterprise systems. Current processes may be re-engineered to reflect best practices. Legacy applications and hardware have to be considered. MMSI's Implementation Services provide you with the highest level of technical knowledge, industry expertise, tools, and training. Our professionals have in-depth, working knowledge of MAXIMO and understand fully the challenges and solutions for a successful implementation. While each MAXIMO implementation project is tailored to our clients' needs, our methodology revolves around the following implementation phases:

PHASE I: PROJECT INTEGRATION
This phase sets the foundation for the project by refining the scope of work and client business objectives, establishing the technical environment in which MAXIMO will operate, and providing product education for the core project team. The major tasks in this phase are: (1) project organization and core team assembly, (2) technical environment and infrastructure planning, (3) hardware and software installation and tuning, (4) core team product orientation and training, and (5) preparation of a detailed implementation plan.

PHASE II: SITE ASSESSMENT
The objective of this phase is to engender an understanding of your business requirements and to map those requirements to MAXIMO. This involves a review of current business practices, procedures, and information data flows for the functional areas that MAXIMO will impact. Using a technique called Gap Analysis, the implementation team identifies the gaps that exist between your business processes and MAXIMO. The results are used to determine which components of MAXIMO will be tailored to support those gaps.

PHASE III: SOP/WORKFLOW DESIGN
In a series of workshop settings, standard operating procedures (SOPs) and workflow processes are designed and documented. Once developed, each procedure is mapped to a series of MAXIMO system functions such as work requests, work orders, or purchase orders. The end result is a set of SOPs that serve as detailed instructions for using MAXIMO as well as training guides for end-users.

PHASE IV: CONFIGURATION
Based on the results of the first three phases, the core MAXIMO applications are configured and customized to meet your requirements. Activities include but are not limited to screen customization, database reconfiguration, custom application deployment, building data validation rules and lists, enabling system and user defaults, and establishing security parameters. Also included is the development and implementation of operational, management, and metric reports using such tools as Actuate, Crystal Reports, and SQR.
PHASE V: DATA TRANSFORMATION
MMSI consultants work with every client to determine which assets, spare parts, and PM routines should be included and stored in MAXIMO, what the best data collection methodology is, how the information will be structured in the MAXIMO database, and how it will be entered. If data is to be manually collected and entered, MMSI will develop customized data collection forms and oversee the data collection process. Should data exist in legacy systems, MMSI's data specialists possess the knowledge and experience to map and convert that data in the shortest amount of time using customized legacy data extraction and upload tools.


PHASE VI :INTEGRATION
MMSI integration consultants can help you extend the value of MAXIMO by connecting it to your other enterprise applications and to your day-to-day operational systems (e.g., time-keeping, project planning and control, etc.). Using such tools as the MAXIMO Enterprise Adapter (MEA), MAXIMO's MIG Data Xchange, and more, MMSI technicians can help you to seamlessly integrate MAXIMO with such applications as PeopleSoft, Oracle Financials, and SAP. Our consultants can also develop custom interfaces to important applications in your organization.


PHASE VII: TRAINING
MMSI offers training and education tailored precisely to your enterprise and to individual user-communities within the organization. In addition to the standard training offered for each component of MAXIMO, we provide one-on-one support as you begin your deployment, teaching your staff how to use MAXIMO on the job. We also offer customized training in system administration, report design, and in system integration techniques. Click here to learn more about MMSI's Training and Education programs.


PHASE VIII :STARTUP
The startup phase includes all of the tasks associated with moving from design, development, and testing to full production use of MAXIMO. During this phase MMSI creates the production database, double-checks that all necessary client infrastructure is in place, ensures that all new users are properly profiled to access the system, and implements the bridges to other enterprise applications. Where required, an MMSI team remains on-site throughout the first week of Startup to handle any questions that may emerge.

RESOURCE: http://www.mmgts.com/services/implementation/maximo.htm